อธิบาย กราฟ ph diagram http://sporlanonline.com/literature/education/5-200.pdf วัฏจักรการทำความเย็นแบบอัดไอ (VAPOR COMPRESSION SYSTEM) 1. หลักการทำงานและกระบวนการต่างๆ ของระบบอัดไอ สำหรับวัฏจักรการทำความเย็นแบบอัดไอ เมื่อไม่คิดพลังงานสูญเสียต่างๆ จะ ประกอบด้วย กระบวนการหลัก ๆ 4 กระบวนการ ดังนี้ รูปที่ 1 วัฎจักรอัดไอมาตรฐาน รูปที่ 2 แผนภูมิความดัน-เอนทาลปี 1. กระบวนการ 1-2 เป็นกระบวนการอัดตัวแบบ Isentropic Compression โดยคอมเพรสเซอร์จะทำการอัดสารทำความเย็นในสภาวะไออิ่มตัว ให้มีความดันเท่ากับความดันที่คอยล์ร้อน (Condenser) 2. กระบวนการ 2-3 เป็นกระบวนการถ่ายเทความร้อนที่ความดันคงที่แบบย้อนกลับได้ โดยสารทำความเย็นที่อยู่ในสภาวะไอดง (Superheated Vapor) จะถูกทำให้เย็นลงจนเกิดการกลั่นตัวของสารทำความเย็น 3. กระบวนการ 3-4 เป็นกระบวนการขยายตัว หรือ กระบวนการลดความดัน โดยสารทำความเย็นที่อยู่ในสภาวะของเหลวจะถูกลดความดันลงมากลายเป็นของผสมที่ความดันที่คอยล์เย็น (Evaporator) 4. กระบวนการ 4-1 เป็นกระบวนการรับความร้...
โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้
กระบวณการทางไซโครเมตริกและph chart
ไซโครเมตริก แผนภาพ Enthalpy ความดัน แผนภาพนี้อธิบายความสัมพันธ์ของความดันและเอนทาลปีของสารทำความเย็นที่เลือก เพื่อให้เข้าใจแผนภาพนี้ได้ดีที่สุดควรไปผ่านรอบการบีบอัดไอบนแผนภาพ PH การทำความเข้าใจแผนภาพ PH ในแผนภาพ PH ความดันจะแสดงบนแกน y และแสดงเอนทาลปีบนแกน x โดยทั่วไปแล้ว enthalpy อยู่ในหน่วยของ Btu / lb และความดันอยู่ในหน่วยของปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) ตัวเลข U ที่แสดงในแผนภาพแสดงถึงจุดที่สารทำความเย็นเปลี่ยนเฟส เส้นโค้งด้านซ้ายที่ระบุถึงเส้นโค้งของของเหลวอิ่มตัวและเส้นโค้งทางด้านขวาจะแสดงเส้นอิ่มตัวของไอ บริเวณที่อยู่ระหว่างเส้นโค้งทั้งสองอธิบายสภาพของสารทำความเย็นที่มีส่วนผสมของทั้งของเหลวและไอระเหย ตำแหน่งทางด้านซ้ายของเส้นโค้งอิ่มตัวของเหลวแสดงให้เห็นว่าสารทำความเย็นอยู่ในรูปของเหลวและตำแหน่งทางด้านขวาของเส้นอิ่มตัวของไอแสดงให้เห็นว่าสารทำความเย็นอยู่ในรูปของไอ จุดที่ทั้งสองโค้งพบเรียกว่าจุดวิกฤติ ความสำคัญของจุดนี้คือเมื่อใดก็ได้ด้านบนไม่มีแรงดันเพิ่มเติมจะเปลี่ยนไอเป็นของเหลว แผนผังความดัน - เอนฮาล์ปที่ง...
อุณหภูมิ อุณหภูมิของก๊าซอุดมคติอะตอมเดี่ยวสัมพันธ์กับค่าเฉลี่ยพลังงานจลน์ของอะตอม อุณหภูมิ คือการวัด ค่าเฉลี่ย ของ พลังงานจลน์ ของ อนุภาค ในสสารใดๆ ซึ่งสอดคล้องกับความร้อนหรือเย็นของสสารนั้น ในอดีตมีแนวคิดเกี่ยวกับอุณหภูมิเกิดขึ้นเป็น 2 แนวทาง คือตามแนวทางของหลัก อุณหพลศาสตร์ และตามกาประเทศไทย บายเชิงจุลภาคทาง ฟิสิกส์เชิงสถิติ อุณหพลศาสตร์นั้นเกี่ยวข้องกับการวัดในเชิงมหภาค ดังนั้นคำจำกัดความอุณหภูมิในเชิงอุณหพลศาสตร์ในเบื้องแรก ซึ่งกำหนดขึ้นโดย ลอร์ดเคลวิน จึงระบุเกี่ยวกับค่าตัวแปรต่างๆ ที่สามารถตรวจวัดได้จากการสังเกต ส่วนฟิสิกส์สถิติจะให้ความเข้าใจในเชิงลึกยิ่งกว่าอุณหพลศาสตร์ โดยอธิบายถึงการสะสมจำนวนอนุภาคขนาดใหญ่ และตีความพารามิเตอร์ต่างๆ ในอุณหพลศาสตร์ (เชิงมหภาค) ในฐานะค่าเฉลี่ยทางสถิติของพารามิเตอร์ของอนุภาคในเชิงจุลภาค ในการศึกษาฟิสิกส์เชิงสถิติ สามารถตีความคำนิยามอุณหภูมิในอุณหพลศาสตร์ว่า เป็นการวัดพลังงานเฉลี่ยของอนุภาคในแต่ละ องศาอิสระ ในระบบอุณหพลศาสตร์ โดยที่อุณหภูมินั้นสามารถมองเป็นคุณสมบัติเชิงสถิติ ดังนั้นระบบจึงต้องประ...
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น